วันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2553

011. เข้าร่วมฟัง "การบริหารจัดการเมืองและพื้นที่โดยรอบ: เมืองเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย"

เข้าร่วมฟัง "การบริหารจัดการเมืองและพื้นที่โดยรอบ: เมืองเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย"

การประชุมเชิงปฏิบัติการระดมความคิดเห็น

เรื่อง การบริหารจัดการเมืองและพื้นที่โดยรอบ: เมืองเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย

วันพฤหัสบดี ที่ 10 เดือนกันยายน พ.ศ.2552

ณ ห้องเพชรรัตน์
โรงแรม ดิเอมเพรส จังหวัดเชียงใหม่





001. ภาพทิวทัศน์จังหวัดเชียงใหม่ ถ่ายจาก โรงแรม ดิเอมเพรส เชียงใหม่


การอภิปรายเรื่อง "แนวคิดและทิศทาง การบริหารจัดการเมืองเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย และ พื้นที่โดยรอบ"

ดำเนินการอภิปราย
โดย นางนิตยา กมลวันทนิศา ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สศช.

1.แนวคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ ความสำคัญและ บทบาทของพื้นที่รอยต่อเมือง (Peri Urban)

โดย ดร.นพนันท์ ตาปนานนท์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. มาตรการทางผังเมืองในการจัดการพื้นที่โดยรอบเมืองเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย
โดย นางสาว ปราณี นันทเสนามาตร์
ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง

3. ทิศทางการบริหารจัดการบริการสาธารณะของ อปท. ในเมือง และ พื้นที่โดยรอบ
โดย นางนิตยา กมลวันทนิศา
ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สศช.

การระดมความคิดเห็นกลุ่มย่อย

ปัญหา อุปสรรค และ แนวทางบริหารจัดการพื้นที่ร่วมกัน ในการพัฒนาด้าน

1. กายภาพ : การใช้ที่ดิน โครงสร้างพื้นฐาน
2. เศรษฐกิจ : การท่องเที่ยว
3. สังคม : การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานฯ
4. สิ่งแวดล้อม: ขยะมูลฝอย น้ำเสีย พื้นที่สีเขียว หมอกควัน ฯ
5. การบริหารจัดการ: บทบาท /ศีกยภาพของ อปท. การประสานงานระหว่าง อปทฯ
6. อื่นๆ



003. ภาพทิวทัศน์จังหวัดเชียงใหม่ ถ่ายจาก โรงแรม ดิเอมเพรส เชียงใหม่




020.การบริหารจัดการเมืองและพื้นที่โดยรอบ: เมืองเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย






1.แนวคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ ความสำคัญและ บทบาทของพื้นที่รอยต่อเมือง (Peri Urban)

โดย ดร.นพนันท์ ตาปนานนท์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. แนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน

แนวคิดภาคนิยมใหม่ (New Regionalism หรือ 3 E)

- การเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economy)
- ความเท่าเทียมทางสังคม (Equity)
- การสงวนรักษาสิ่งแวดล้อม (Environment)

2. โครงการเสริมสมรรถนะการวิเคราะห์วางแผนพื้นที่ และ ประสานเชื่อมโยงการจัดการเชิงพื้นที่ทุกระดับ

กรณีศึกษา:จังหวัดเชียงใหม่

1. สภาพทางภูมิศาสตร์ จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
2. เขตการปกครอง และ เส้นทางคมนาคมจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
3. อัตราการเปลี่ยนแปลงประชากรเฉลี่ยต่อปี จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
4. ความหนาแน่นประชากร จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
5. จำนวนประชากรรายเทศบาล จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
6. ปริมาณการจราจร จังหวัดเชียงใหม่ และ ลำพูน
7. การใช้ที่ดิน จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
8. ผลิตภัณฑ์ตามราคาปี 2531 จำแนกตามสาขาการผลิต
9. จำนวนแรงงานจำแนกตามสาขาการผลิต
10. สัดส่วนความยากจนด้านรายได้ จังหวัดเชียงใหม่
11. สัดส่วนความยากจน ด้านรายได้ในเขตชนบท จังหวัดเชียงใหม่
12. จำนวนครัวเรือนที่ประสบภัยแล้ง จังหวัดเชียงใหม่
13. จำนวนประชาชนที่ได้รับความเสียหายจากไฟป่า
14. อัตราการตายต่อประชากร 100,000 คน จังหวัดเชียงใหม่
15. วิกฤติมลพิษ เมืองเชียงใหม่
16. การกระจายของ PM10 จากไฟป่า
17. การกระจายของฝุ่นละอองขนาดเล็กจากรถเครื่องยนต์ดีเซล
18. การขยายเขตชานเมืองและปัญหาการจราจร
19. ผังเมืองรวม เมืองเชียงใหม่
20. The Garden City
21. Great London Plan
22. Letchworth Garden City

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น